ศ. ๒๕๕๒ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
บริการตรวจเช็คและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์ดับเพลิง
มาตรฐานการติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ข้อมูลทั่วไป: อุปกรณ์เริ่มสัญญาณด้วยมือ หรือในบางผู้ผลิตอาจเรียกว่า อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือใช้สัญลักษณ์ เป็นอุปกรณ์เริ่มสัญญาณที่ทางานโดยอาศัยการกระตุ้นจากบุคคลโดยการกดปุ่มหรือดึงคันบังคับสัญญาณที่ติดตั้ง จะติดตั้งในตาแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน ครอบคลุมพื้นที่เข้าออกอาคารบริเวณที่เข้าถึงสะดวก และการทางานของอุปกรณ์นี้ต้องไม่ทาให้อุปกรณ์แสดงผลของอุปกรณ์ตรวจจับอื่นที่มีอยู่เช่นเดียวกันนั้นต้องดับหรือหยุดทางาน และอุปกรณ์นี้แต่ละตัวต้องมีหมายเลขของโซนตรวจจับที่ต่อใช้งานอยู่เพื่อทราบว่าต่อใช้งานกับโซนใด
ติดตั้งอยู่นอกตู้ควบคุมสัญญาณหลัก และกระจายในบริเวณต่าง ๆ ของอาคาร มีการเชื่อมต่อด้วย สายสัญญาณ ให้ส่งข้อมูลกลับไปยัง ตู้ควบคุมสัญญาณหลัก เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ และรับกระแสไฟฟ้าจาก อุปกรณ์จ่ายไฟสำรอง ในกรณีที่กระแสไฟฟ้า จากแหล่งจ่ายไฟหลักดับ แบ่งได้ ดังนี้
อบรม การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
ไขข้อข้องใจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้คืออะไร
คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ หากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาเว็บไซต์ได้ รายละเอียดคุกกี้ คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย
ใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ควัน และไฟ
การควบคุมเปิดประตูทางออก เปิดประตูหนีไฟ เปิดประตูกันคว้นไฟ
– ในกรณีที่ผู้ตรวจสอบพบว่าอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารบางส่วนหรือบางรายการไม่ผ่านหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้ในข้อ ๑๘ ให้ผู้ตรวจสอบจัดทําข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงอาคารหรืออุปกรณ์ประกอบของอาคารเพื่อให้อาคารหรืออุปกรณ์ประกอบของอาคารดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กําหนดให้แก่เจ้าของอาคารด้วย
โฟมดับเพลิงและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ทำความสะอาดอุปกรณ์ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ อุปกรณ์ตรวจจับความไฟ, อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน , ปุ่มกดสัญญาณแจ้งเหตุ
ข้อ ๒๓ read more ให้เจ้าของอาคารตามมาตรา ๓๒ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ และเป็นอาคารที่การก่อสร้าง ได้ดําเนินการแล้วเสร็จหรือได้รับใบรับรองตามมาตรา ๓๒ มาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี จัดให้มีการตรวจสอบ อาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารประเภทการตรวจสอบใหญ่ตามข้อ ๑๓ (๑) เป็นครั้งแรกให้แล้วเสร็จ และเสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าว ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นภายในระยะเวลาสองปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ